วันอังคารที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2554

Border Trad

Border Trad
Contertrade   การค้าต่างตอบแทน คือ การที่ประเทศหนึ่งตกลงซื้อสินค้าจากอีกประเทศหนึ่ง เป็นการตอบแทนที่ประเทศนั้นซื้อสินค้าหรือบริการของตน การค้าต่างตอบแทนมีหลายวิธี แต่จะกล่าวถึงเฉพาะวิธีที่ไทยคุ้นเคย
Drawback   ข้อเสียเปรียบการค้า การจ่ายเงินกลับหน้าที่จ่ายเงินก่อนหน้านี้ในการส่งออกที่ต้องเสียภาษีหรือบท ความเกี่ยวกับสินค้าจากต่างประเทศอีกครั้งการส่งออก วัตถุของข้อเสียเปรียบคือการปล่อยให้สินค้าที่อาจมีการจัดเก็บภาษีส่งออกและ จำหน่ายในต่างประเทศตามเงื่อนไขเช่นเดียวกับสินค้าจากประเทศที่พวกเขาจะไม่ ต้องเสียภาษี ซึ่งแตกต่างจากความโปรดปรานในการที่โปรดปรานจะช่วยให้สินค้าที่จะขายในต่าง ประเทศที่ต่ำกว่าราคาต้นทุนของพวกเขาก็อาจจะเกิดขึ้น แต่อยู่ภายใต้เงื่อนไขบางอย่างที่ทำให้เสียเปรียบมีผลเท่ากับว่าของโปรดปราน
Foreign market value (FMV)   มูลค่าต่างประเทศ
Consumer durables   คงทนของผู้บริโภค คือ ในเศรษฐศาสตร์มีความทนทานดีหรือยากดีเป็นดีที่ไม่ได้สวมใส่ได้อย่างรวดเร็ว ออกหรือมากขึ้นโดยเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่งที่ทำให้สาธารณูปโภคในช่วงเวลาแทน ที่จะสมบูรณ์บริโภคในการใช้งาน รายการเช่นอิฐหรือเครื่องประดับที่อาจจะพิจารณาสินค้าคงทนที่ดีที่สุดเพราะ พวกเขาควรจะในทางทฤษฎีไม่เคยใส่ออก สินค้าคงทนสูงเช่นตู้เย็น , รถยนต์ , หรือโทรศัพท์มือถือมักจะดำเนินการต่อไปจะมีประโยชน์สำหรับสามปีหรือมากกว่าในการใช้งานดังนั้นสินค้าคงทนมีลักษณะโดยทั่วไปเป็นระยะเวลานานระหว่างการสั่งซื้อต่อเนื่อง 
Black market     ตลาดมืด เป็นการซื้อขายแลกเปลี่ยนที่ผิดกฎหมาย ถ้าเป็นกรณีของการนำเข้าผลิตภัณฑ์  ก็เป็นการลักลอบนำเข้าอย่างผิดกฎหมาย หรือเป็นของละเมิดลอกเลียนแบบ
Gray market goods   สินค้าตลาดสีเทา  เป็นตลาดของผลิตภัณฑ์แท้ที่นำเข้าอย่างถูกต้องตามกฎหมายและกติกา เพียงแต่ผู้นำเข้า  ตลอดจนผู้ส่งออกจากประเทศต้นทาง นั้นมักจะไม่ใช่ผู้ที่บริษัทแม่ผู้เป็นเจ้าของผลิตภัณฑ์ต้องการจะให้ดำเนินการ และบางกรณีเข้าข่ายละเมิดสิทธิในเครื่องหมายการค้า
Re-export    ของส่งกลับ  ของที่นำเข้ามาในราชอาณาจักรแล้ว ต่อมาผู้นำเข้าของได้นำของที่นำเข้ามานั้นส่งกลับออกไปยังต่างประเทศ โดยไม่เปลี่ยนแปลงรูปร่างหรือลักษณะประการใด หรือของที่นำเข้ามาเพื่อเป็นของใช้สิ้นเปลืองสำหรับยานพาหนะที่เดินทางไปต่างประเทศแล้วจะขอคืนอากรที่ได้ชำระไปกลับคืน ตามมาตรา 19 แห่ง พรบ.ศุลกากร ฉบับที่ 9 พ.ศ.2482

Agribusiness   ธุรกิจการเกษตร  การดำเนินกิจกรรมทั้งหลายนับตั้งแต่การผลิตและจำหน่ายปัจจัยการผลิต การผลิตสินค้าเกษตรในระดับฟาร์ม การเก็บรักษา การแปรรูปสินค้าเกษตร และการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตรและผลิตผลพลอยได้ ดังนั้น ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรทุกประเภทถือว่าเป็นธุรกิจการเกษตรทั้งสิ้น
Delivered at frontier    ผู้ขายต้องส่งมอบสินค้า ณ เขตแดนที่ได้ตกลงกันไว้ ยังไม่ผ่านเขตแดนอีกฝ่ายผู้ขายต้องผ่านพิธีการส่งออก แต่ไม่ต้องผ่านพิธีการขาเข้า ไม่ต้องขนส่งสินค้าลงจากยานพาหนะ ความหมายคำว่า เขตแดน อาจจะใช้กับเขตแดนประเทศใดๆ ก็ได้รวมถึงประเทศผู้ส่งออก ดังนั้นชื่อสถานที่ดังกล่าวควรระบุให้ชัดเจนว่า ณ จุดใด สถานที่ใด อย่างไรก็ตาม ถ้าคู่ค้าต้องการที่จะให้ผู้ขายรับภาระในด้านการขนส่งสินค้าลงจากยานพาหนะ และรับภาระในค่าใช้จ่าย รวมถึงความเสี่ยงดังกล่าว ก็ควรระบุให้ขัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษรในสัญญาซื้อขาย ข้อตกลงนี้ ใช้ได้กับการขนส่งทุกรูปแบบ ที่สินค้าส่งมอบกันเขตแดนทางบก ถ้าการส่งมอบเกิดขึ้นที่ท่าเรือปลายทาง หรือบนเรือ หรือที่ท่าเทียบเรือ ควรหันไปใช้ข้อตกลง DES หรือ DEQ แทน
Import quota    การจำกัดสินค้าเข้า  เป็นการกำหนดโควต้าด้านปริมาณหรือมูลค่าของสินค้าที่จะนำเข้าจากต่างประเทศ
Embargo   ระยะเวลาที่สำนักพิมพ์ระบุไว้เพื่อบอกผู้อ่านวารสารอิเล็กทรอนิกส์ว่า ไม่อนุญาตให้เข้าถึง fulltext เพื่อรักษาผลประโยชน์อันพึงมีของสำนักพิมพ์   Embargo  มักจะถูกต่อท้ายด้วยระยะเวลา  เช่น   Embargo 6 months,  Embargo 1 year  หมายความว่า บทความอิเล็กทรอนิกส์ของวารสารชื่อนั้นจะไม่สามารถ download fulltext ได้ จนกว่าบทความนั้นจะได้รับการตีพิมพ์ในวารสารฉบับ printed ผ่านไปแล้ว 6 เดือน หรือ 1 ปี (ตามแต่ระยะเวลาที่ต่อท้ายคำว่า Embargo)
Foreign direct investment (FDI)   การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศตามความหมายดั้งเดิมหมายถึงบริษัทๆหนึ่งจากประเทศๆหนึ่ง ได้สร้างการลงทุนทางกายภาคโดยการสร้างหน่วยการผลิตในประเทศอื่น ซึ่งตามความหมายนี้ สามารถรวมไปถึงการลงทุนที่สร้างผลประโยชน์สุดท้ายในกิจการ นอกเหนือไปจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจของผู้ลงทุน
Consumer goods    สินค้าเพื่อการบริโภค  คือ สินค้าหรือบริการที่ผู้ซื้อซื้อไปเพื่อการอุปโภคบริโภคเองในครอบครัว เพื่อตอบสนองความต้องการหรือสร้างความพึงพอใจแก่ตนเองหรือสมาชิกภายในครอบครัว แตกต่างจากสินค้าเพื่ออุตสาหกรรม (Industrial Goods) ที่ผู้ซื้อซื้อไป ใช้งานภายในองค์กร หรือซื้อไปใช้ในกระบวนการผลิตสินค้าหรือบริการ แล้วนำออกมาขายเพื่อแสวงหากำไร
Import licence   การออกใบอนุญาตนำเข้า  เป็นเอกสารที่ออกโดยรัฐบาลแห่งชาติอนุญาตการนำเข้าสินค้าบางอย่างลงในอาณาเขตของ ตน ใบอนุญาตนำเข้าจะถือว่าเป็นอุปสรรคที่ไม่ใช่ภาษีการค้าเมื่อนำมาใช้เป็นวิธี การเลือกปฏิบัติต่อสินค้าของประเทศอื่นเพื่อที่จะปกป้องอุตสาหกรรมภายใน ประเทศจากการแข่งขันต่างประเทศ ใบอนุญาตแต่ละระบุปริมาณการนำเข้าที่ได้รับอนุญาตและการอนุญาตให้ใช้ปริมาณ ทั้งหมดไม่ควรเกินโควตา
            Primary commodity    สินค้าหลักสิ่งที่สามารถนำเสนอขายให้แก่ตลาดเพื่อให้เกิดความพอใจ ความต้องการเป็นของเจ้าของ เรียกให้มีการซื้อ การใช้  หรือการบริโภค  ซึ่งเป็นสิ่งที่ (อาจจะ) ตอบสนองความต้องการและความจำเป็นของผู้ซื้อให้ได้รับความพอใจ
ข้อมูลจาก             http://www.agbus.eco.ku.ac.th

Containerization

Containerization                     
1.        Bulk cargo   เป็นกลุ่มสินค้าโภคภัณฑ์ที่สินค้าจะถูกส่ง unpackaged
ปกติหรือเทกับถังพ่นหรือพลั่ว, เป็นของเหลวหรือเป็นมวลของของแข็งมีขนาดค่อนข้างเล็ก (เช่นเมล็ดพืชถ่านหิน), เป็นผู้ถือเรือผู้ให้บริการเป็นกลุ่มของรถยนต์รถไฟหรือเรือบรรทุกรถบรรทุก / รถพ่วง / กึ่ง ร่างกายพ่วง ปริมาณขนาดเล็ก (ถือว่ายังคง"กลุ่ม") สามารถบรรจุกล่อง (หรือ drummed) และ palletised เป็นกลุ่มสินค้าที่จัดเป็นของเหลวหรือแห้ง          
              
2.      Claused bill  การเรียกเก็บเงินจากน้ำหนักบรรทุกที่แสดงความไม่เพียงพอหรือความเสียหายในสินค้าที่จัดส่ง โดยปกติ
หากการจัดส่งผลิตภัณฑ์ที่เบี่ยงเบนจากข้อกำหนดของการส่งหรือคุณภาพที่คาดหวัง รับอาจประกาศการเรียกเก็บเงินจากการ
บรรทุก claused

3.        Charter  กฎบัตร    สัญญาเช่า    กฎหมาย    ธรรมนูญ    ใบอนุญาตกรรมสิทธิ์    สิทธิพิเศษ

4.         Broken stowage  ปริมาณของพื้นที่บนเรือขนส่งสินค้าที่สูญหายในระหว่างการเก็บรักษาวัดในอัตราร้อยละของ balespace ทั้งหมด ร้อยละของพื้นที่ที่สูญเสียไปขึ้นอยู่กับชนิดของสินค้าที่รูปร่างภาชนะบรรจุและอ่าวที่ใช้

         5.      Ship broker  โบรกเกอร์เรือ   โบรกเกอร์คือบุคคลหรือบริษัท ที่เป็นตัวแทนในการทำการซื้อขายราคาค่าเงินหรือหุ้นให้กับเรา โดยจะเรียกเก็บค่าตอบแทนหักออกจากจำนวนจุดที่เราได้ทำการซื้อขายไป เช่นเมื่อเราทำการซื้อขายค่าเงิน EUR/USD จากโบรกเกอร์ของ Marketiva เราจะ ถูกหักค่าใช้จ่ายออกไปทันทีสามจุด เป็นต้น ซึ่งแต่ละโบรกเกอร์ก็อาจเรียกเก็บค่าตอบแทนไม่เท่ากัน ดังนั้นการเลือกโบรกเกอร์จึงเป็นเรื่องสำคัญเช่นกัน                        
6.      Belly cargo  การขนส่งทางช่อง

7.      Backfreight    การส่งคืนสินค้ากลับต้นทาง                                     
 
8.       Ship’s master  ต้นแบบของเรือ เรือโท'นำทางดูแลและจัดการการดำเนินการเดินเรือในทะเลในพอร์ต
และที่ยึด ต้นแบบของเรือให้คำปรึกษาคาดการณ์สภาพอากาศที่ทำให้การวางแผนการเดินทางและการ
ดำเนินการตรวจสอบอุปกรณ์และสินค้าคงคลังในการเตรียมความพร้อมของเรือออกจากพอร์ต

9.          Partial shipment   การจัดส่งสินค้าบางส่วน   การทยอยจัดส่งสินค้า หรือการแยกส่งเฉพาะบางส่วนที่มิสินค้าใน
สต๊อก อ้างอิงตามใบสั่งซื้อ.                   

10.         Cargo carrier ผู้ให้บริการขนส่งสินค้า            
        
11.         Dangerous goods   สินค้าอันตราย                 
              
12.         Demurrage  การจอดเรือเกินกำหนด เก็บค่าจอดเกินเวลา

13.         Less than container load(LCL)    ตู้สินค้าที่บรรจุสินค้าที่มีผู้ส่งและ/หรือผู้รับหลายรายในตู้สินค้าเดียวกันซึ่ง
แต่ละรายจะมีสินค้าอยู่มากน้อยเท่าใดก็ได้ แต่สินค้าทั้งหมดจะถูกนำไปยังจุดหมายปลายทางเดียวกัน ความรับผิดชอบในการ บรรจุสินค้าในตู้สินค้าและ/ หรือนำสินค้าออกจากตู้สินค้าในลักษณะนี้จะอยู่กับผู้รับการขนส่งซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะเป็นบริษัทเรือ บางครั้งในวงการเรือเรียกตู้สินค้าชนิดนี้ว่าเป็นตู้ CFS เพราะต้องมีการนำสินค้ามาผ่านโกดังจัดแยกชนิดสินค้าก่อนที่จะทำการบรรจุ ใส่ตู้สินค้าหรือ ส่งไปยังจุดหมายปลายทาง            

14.         Full container load(FCL)   ตู้สินค้าที่บรรจุสินค้าที่มีผู้ส่งและ/หรือผู้รับเป็นเจ้าของรายเดียว อยู่ในตู้สินค้า
เดียวกัน ส่วนมากความรับผิดชอบในการบรรจุสินค้าในตู้สินค้า และ/หรือนำสินค้าออกจากตู้สินค้าจะอยู่กับผู้ส่งและ/หรือผู้รับนั้นๆ  บางครั้งในวงการเรือเรียกตู้สินค้าชนิดนี้ว่าเป็นตู้ CY เพราะสามารถรับและ/หรือส่งตู้ชนิดนี้ได้โดยไม่ต้องผ่านโกดัง

15.         Bagged cargo     สินค้าบรรจุถุง ผลิตภัณฑ์                                

16.         Deck cargo  สินค้าที่บรรทุกบนปากระวาง
                  http://www.marinerthai.com/sara/view.php?No=1145

วันพุธที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2554

คำศัพท์ที่ควรรู้ต่าง ๆ

Financial Document  (เอกสารทางการเงิน)

1.ตั๋วแลกเงิน  (Bill of Exchange)
ตั๋วแลกเงิน  คือ  หนังสือตราสารที่บุคคลผู้หนึ่งที่เรียกว่าผู้สั่งจ่าย  สั่งบุคคลอีกผู้หนึ่ง เรียกว่าผู้จ่าย ให้ใช้เงินจำนวนหนึ่งแก่บุคคลหนึ่งหรือให้ใช้ตามคำสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่งซึ่งเรียกว่าผู้รับเงิน 
ตั๋วแลกเงินต้องมีข้อความต่อไปนี้
1. คำบอกชื่อว่าเป็นตั๋วแลกเงิน
2. คำสั่งอันปราศจากเงื่อนไขให้จ่ายเงินจำนวนแน่นอน
3. ชื่อหรือยี่ห้อของผู้จ่าย
4. วันถึงกำหนดใช้เงิน
5. สถานที่ใช้เงิน
6. ชื่อหรือยี่ห้อของผู้รับเงินหรือจ่ายให้แก่ผู้ถือ
7. วันและสถานที่ที่ออกตั๋ว
8. ลายมือชื่อผู้สั่งจ่าย
 2.  ดราฟต์ (Demand Draft) คือตราสารทางการเงิน หรือ ตั๋วแลกเงินของธนาคาร ที่ธนาคารหรือสถาบันการเงินเป็นผู้ออกและสั่งให้ธนาคารตัวแทน (Correspondent Bank) หรือสาขาของตนในต่างประเทศจ่ายเงินจำนวนหนึ่งตามที่ระบุในดราฟต์ ให้แก่ผู้รับผลประโยชน์ที่มีชื่อระบุไว้บนดราฟต์
3.   เช็ค (cheque) เช็ค  คือ  หนังสือตราสารที่บุคคลคนหนึ่งที่เรียกว่า  ผู้สั่งจ่าย  สั่งธนาคารให้ใช้เงินจำนวนหนึ่งเมื่อทวงถาม  ให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งหรือให้ใช้ตามคำสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่งซึ่งเรียกว่า 
ผู้รับเงิน เช็คต้องมีข้อความต่อไปนี้
1. คำบอกชื่อว่าเป็นเช็ค
2.  คำสั่งอันปราศจากเงื่อนไขให้จ่ายเงินจำนวนแน่นนอน
3. ชื่อหรือยี่ห้อของผู้รับเงินหรือจ่ายให้แก่ผู้ถือ
4. ชื่อหรือยี่ห้อและสำนักงานของธนาคาร
5. สถานที่ใช้เงิน
6. วันและสถานที่ออกเช็ค
7. ลายมือชื่อผู้สั่งจ่าย
4. Bill for Collection (B/C) เป็นเครื่องมือการชำระเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงกันว่าเมื่อผู้ขายส่งสินค้าเรียบร้อยแล้ว ผู้ขายจะจัดทำและส่งเอกสารไปเรียกเก็บเงินยังผู้ซื้อโดยผ่านธนาคารของผู้ซื้อ ซึ่งเรียกเครื่องมือการชำระเงินนี้ว่า Bill for Collection (B/C) โดยสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ Documents Against Payment (D/P) และ Documents Against Acceptance (D/A) ธนาคารจะเป็นตัวกลางในการเรียกเก็บเงินเท่านั้น จะไม่มีภาระผูกพันเกี่ยวกับการชำระเงินแทนผู้ซื้อ ซึ่งธนาคารสามารถให้บริการแก่ผู้นำเข้าได้
5.Bonds  พันธบัตร (Bond) เป็นสัญญาที่ออกโดยผู้ขอกู้ยืม โดยจะมีสัญญาข้อผูกมัดที่ว่า ผู้ออกพันธบัตร (หรือผู้ขอกู้ยืม) จะต้องจ่ายผลตอบแทน (ดอกเบี้ย) ให้กับผู้ถือพันธบัตร (ผู้ให้กู้) ตามอัตราและระยะเวลาที่กำหนดไว้ในพันธบัตร
 6.Stock  หุ้นทุน
หุ้นทุนหรือหุ้นสามัญ (Common Stock) คือหน่วยของความเป็นเจ้าของ ในบริษัท สหกรณ์ หรือกิจการอื่นที่ระบุให้แบ่งหน่วยความเป็นเจ้าของเป็นหุ้นตามสัดส่วนจำนวนหุ้นที่มีถืออยู่ ผู้ถือหุ้นจะมีสิทธิ์ออกเสียงในการประชุมผู้ถือหุ้นได้มากเท่ากับสัดส่วนของหุ้นที่ถือ ถ้าผู้ถือหุ้นคนใดถือหุ้นเกินกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนหุ้นที่กิจการออกทั้งหมด จะมีสิทธิ์ตั้งฝ่ายจัดการของกิจการได้
หุ้นบุริมสิทธิ์ (Preferred Stock) คือหุ้นที่มีความเป็นเจ้าของ ผสมกับความเป็นเจ้าหนี้ด้วย โดยที่ถ้าบริษัทนั้นๆต้องเลิกกิจการลง ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิ์จะได้รับส่วนแบ่งก่อนผู้ถือหุ้นสามัญ

Transport Document เอกสารการขนส่ง
1.Bill of Lading  ใบเบิก(B / L) เอกสาร ที่ออกโดย ผู้ให้บริการ หรือของ ตัวแทน เพื่อ ส่ง เป็น สัญญาของการขนส่ง ของ สินค้า . นอกจากนี้ยังเป็น ใบเสร็จรับเงิน สำหรับ การขนส่งสินค้า ได้รับการยอมรับสำหรับ การขนส่ง และจะต้องนำเสนอสำหรับการ ส่งมอบ ที่ปลายทาง
2. Airway Bill ใบตราส่งสินค้าทางอากาศ เป็นเอกสารกำกับสินค้าโดยมีหลักฐานในการขนส่งสินค้าที่ทำขึ้นในลักษณะของสัญญา การขนส่งสินค้าระหว่างผู้ส่งออกกับผู้ทำการขนส่งโดยมีผู้รับสินค้าเป็นบุคคลที่สามที่ทำให้สัญญาการขนส่งสมบูรณ์ สัญญานี้จะครอบคลุมตั้งแต่จุดรับมอบสินค้า ณ สนามบินต้นทางจนถึงจุดส่งมอบสินค้าปลายทางของสินค้าทุกประเภท
3. Railway Bill ใบตราส่งสินค้าทางรถไฟ  ใบเบิก สำหรับ สินค้า ที่จัดส่งโดยทางรถไฟ
4. Roadway Bill ใบตราส่งสินค้าทางถนน
5. Certificate of Posting
6.  CMR
7.  TIR

Commercial Document  เอกสารพาณิชย์                1. invoice   ใบกำกับสินค้า  บัญชีราคาสินค้าหรือใบกำกับราคาสินค้า เป็นเอกสารที่ผู้ส่งสินค้า (Exporter) จัดขึ้น เพื่อแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับสินค้า เช่น รายการจำนวนสินค้า, น้ำหนัก ราคาต่อหน่วย ราคารวม ประเภทของราคา ที่จะทำการซื้อขายกัน เครื่องหมายหีบห่อ ชื่อเรือที่ทำการขนส่ง ชื่อผู้ซื้อ เป็นต้น แต่ละบริษัทผู้ขายสินค้า (Exporter) จะมี Form ในการออก Invoice ของตนเอง และส่งไปพร้อมกับสินค้า พร้อมทั้งส่งมอบให้ผู้ซื้อ (Importer) เป็นหลักฐานในการตรวจสอบสินค้า
                2. packing list  ใบแสดงการบรรจุหีบห่อ
 เป็นรายการในการบรรจุหีบห่อ แสดงถึงการบรรจุของในแต่ละหีบห่อว่าได้บรรจุสินค้าแบบใด จำนวนเท่าใด
                3. weight list    ใบแสดงรายการน้ำหนักสินค้า  แสดงถึงน้ำหนักและขนาดด้วย ถ้าหากไม่แจ้งขนาดและน้ำหนักจะมีเอกสารที่แยกออกไป
                4. certificate of origin  ใบรับรองต้นกำเนิดสินค้า
                5. health certificate  ใบสำคัญแสดงความสมบูรณ์ของสินค้า
                6. inspection certificate   การตรวจสอบใบรับรอง
                7. insurance certificate   ใบรับรองการประกัน
                8. phytosanitary certificate  ใบรับรองสุขอนามัยพืช
                9. fumigation certificate  ใบรับรองรมควัน
                10. certificate of analysis  ใบสำคัญแสดงการวิเคราะห์
  เป็นเอกสารแสดงการวิเคราะห์ว่าสินค้านั้นๆ มีส่วนผสมอะไรบ้าง และมีสัดส่วนอย่าไร ซึ่งผู้ซื้อ (
Importer) จะได้ทราบว่า สินค้ามีส่วนผสมตามความตกลง                11. sanitary certificate  ใบรับรองสุขอนามัย
                12.  Entreport Certificates
                13.  Shipping Line Certificates  การจัดส่งสินค้าใบรับรองสาย
                14.  Measurement Certificates     ใบรับรองการวัด

อ้างอิงจาก
http://wannaratw.tripod.com/343_ch3b.htm